สำนักพิมพ์ อ่าน: เพื่อการอ่าน

ชูศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์

นพพร ประชากุล ทิ้งรอยโดยทิ้งรอย

นี้กระมังที่เป็นสปิริตในงานทั้งหมดของอาจารย์นพพร และคือตัวตนของความเป็นอาจารย์นพพร ประชากุล นั่นคือ นักอ่านที่หลงใหลในวรรณกรรม ผู้สงสัยในคุณค่าของวรรณกรรม, นักมนุษย์ศาสตร์ผู้เคลือบแคลงในลัทธิมนุษยนิยม, คนเปี่ยมเหตุผล ผู้หวาดระแวงในลัทธิเหตุผลนิยม, คนมากน้ำใจต่อเพื่อนมนุษย์ ผู้สูญสิ้นศรัทธาในมนุษยชาติ

วัฒน์ วรรลยางกูร “ศรีบูรพา” แห่งยุคสมัย

สำหรับผม วัฒน์ วรรลยางกูร มิได้เป็นเพียงนักเขียนรางวัลศรีบูรพา แต่เขาคือ “ศรีบูรพา” แห่งยุคสมัยของเรา ในทุกมิติของความเป็นนักเขียนและนักต่อสู้เพื่อประชาธิปไตย

บรรณทึก – Isan Writers, Thai Literature: Writing and Regionalism in Modern Thailand

ด้วยเหตุที่หนังสือเล่มนี้มุ่งสนใจชีวิตและผลงานของนักเขียนชาวอีสานจำนวนยี่สิบสี่คนในช่วงครึ่งหลังของศตวรรษที่ยี่สิบ จึงชวนให้คาดหวังว่าเนื้อหาของหนังสือจะช่วยฉายให้บางแง่มุมของวิกฤตครั้งนี้กระจ่างขึ้นมาได้ เช่นแง่มุมการเมืองเรื่องอัตลักษณ์อีสานกับการสืบอัตลักษณ์การเมืองอีสาน ตลอดจนช่วยแถลงไขว่าทำไมบรรดานักเขียนชาวอีสานจึงดูจะกลับหลังหันทางอุดมการณ์จากหน้ามือเป็นหลังเท้าขนาดนี้

“ในสมุดบันทึก” กับการเกษียน/เกษียณความทรงจำเดือนตุลา

ในการจัดฉายภาพยนตร์เรื่อง ดาวคะนอง (อโนชา สุวิชากรพงศ์ ) รอบพิเศษ คุณอโนชาผู้กำกับฯ ได้ขอให้คุณไอดา อรุณวงศ์ บรรณาธิการวารสารอ่าน ขึ้นไปอ่านบทกวีก่อนภาพยนตร์จะเริ่มฉาย