บทความ เรื่อง “การปฏิวัติที่ห่ามสำหรับฝ่ายก้าวหน้าที่ไม่มีความเจนจัดและไม่มีอำนาจ”
อุปลักษณ์ที่เราคาดไม่ถึงก็คือ หมายเหตุจากบรรณาธิการต้นฉบับ ที่มีการตีพิมพ์สองตอน หากว่าเป็นการเข้าใจผิดก็แล้วไป แต่ถ้าเป็นการใช้อุปลักษณ์อย่างหนึ่ง ก็ดูน่าฉงนสนเท่ห์ทีเดียว การบันทึกไปได้เพียงครึ่งๆกลางๆ แล้วมีคนเข้าใจผิด นำไปลงตีพิมพ์ ก็จำเป็นที่จะต้องแก้ไขข้อบกพร่องตามมา เช่นเดียวกันกับการปฏิวัติที่ห่าม มักจะต้องให้คนรุ่นหลังๆมาแก้ไขอยู่เสมอ