ชั้นหนังสือนพพร ประชากุล
รูปถ่ายของนพพร ประชากุล อดีตอาจารย์ประจำภาควิชาภ […]
รูปถ่ายของนพพร ประชากุล อดีตอาจารย์ประจำภาควิชาภ […]
ปี 2566 นี้ ถือเป็นวาระครบรอบ 20 ปีของหนังสือ วิจักษ์วิ […]
นี้กระมังที่เป็นสปิริตในงานทั้งหมดของอาจารย์นพพร และคือตัวตนของความเป็นอาจารย์นพพร ประชากุล นั่นคือ นักอ่านที่หลงใหลในวรรณกรรม ผู้สงสัยในคุณค่าของวรรณกรรม, นักมนุษย์ศาสตร์ผู้เคลือบแคลงในลัทธิมนุษยนิยม, คนเปี่ยมเหตุผล ผู้หวาดระแวงในลัทธิเหตุผลนิยม, คนมากน้ำใจต่อเพื่อนมนุษย์ ผู้สูญสิ้นศรัทธาในมนุษยชาติ
สำหรับผม วัฒน์ วรรลยางกูร มิได้เป็นเพียงนักเขียนรางวัลศรีบูรพา แต่เขาคือ “ศรีบูรพา” แห่งยุคสมัยของเรา ในทุกมิติของความเป็นนักเขียนและนักต่อสู้เพื่อประชาธิปไตย
สำหรับข้าพเจ้า “เนรเทศ” ไม่ใช่ลี้ภัยชั่วคราวเพื่อรอวันกลับมา เนร คือ นิร คือไร้ ไม่ใช่กลับไม่ได้ แต่ไม่ขอหันหลังกลับมาอีกแล้ว
“เอมีล” และ “เพื่อนครู” เป็นหนังสือเกี่ยวกับการศึกษาในยุคแรกประชาธิปไตยของไทย ทั้งสองเล่มมีเสน่ห์ชวนอ่านต่างกันไป
จุฬาฯ คือจุลจักรวาลของอำนาจทางวัฒนธรรมในสังคมไทย การที่จุฬาฯ ไม่อาจแสดงความสำนึกผิดต่อจิตร ภูมิศักดิ์ได้ ก็คือภาพสะท้อนของสังคมไทยที่ไม่คุ้นเคยกับวัฒนธรรมการแสดงความสำนึกผิด หรือ remorse ที่ชนศิวิไลซ์ชาติอื่นเขามีกัน อันที่จริง remorse นี่ยังดูสง่ากว่า guilt ที่พวกเขาไม่มีทางยอมรับอยู่แล้วด้วยซ้ำ remorse หรือการสำนึกเสียใจต่อความผิดที่เกิดขึ้น ไม่ว่าจะกระทำด้วยตัวเอง หรือกระทำในนามของเรา หรือกระทั่งของชนชาติเรา เป็นสมบัติที่ผู้ดีแถวนี้ไม่มี ดังนั้นจึงไม่แปลกใจที่มีคำถามว่า ถ้าคุณปู่ของเราทำผิดไปชกหน้าคนอื่น เราต้องขอโทษเหรอ? ซึ่งมันก็ชวนให้นึกถึงอีกคำถามที่สะท้อนกันว่า ถ้าขี้ข้าของเราไปฆ่าคนอื่นในนามของความรักเทิดทูนเรา เราต้องขอโทษเหรอ? ดังนั้นเองการจับกุมคุมขัง กระทำทารุณฆ่าล้างในนามความจงรักภักดีและสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ จึงยังดำเนินต่อไป โดยไม่เพียงไม่มีการสืบหาผู้กระทำผิด แต่ผู้ที่ปล่อยให้ความทารุณนี้ดำเนินต่อไปก็ไร้ซึ่งสปิริตของการ remorse ฉะนั้นแล้วจะแปลกอะไรที่จิตร ภูมิศักดิ์ จะถูกโยนบกเพราะถูกหาว่าไม่เคารพต่อกษัตริย์ผู้เป็นปู่ และถูกฆ่าตายเพราะเป็นคอมมิวนิสต์ที่ถูกมองว่าเป็นพิษภัยต่อกษัตริย์ผู้เป็นหลาน
บทความอายุ 70 ปีชิ้นนี้มีหลายส่วนที่น่าอ่านเปรียบเทียบกับสถานการณ์โรคระบาดและระบบสาธารณสุขในปัจจุบัน และไม่เพียงแค่เนื้อหาเท่านั้นที่น่าสนใจ แต่บทความนี้ยังเป็นหลักฐานอีกชิ้นหนึ่งที่แสดงว่า หลังเปลี่ยนแปลงการปกครองปี 2475 แล้ว ผู้แทนราษฎรในระบอบประชาธิปไตยต่างก็ทำหน้าที่ของตนเองตามความรู้ความสามารถ และเสนอความคิดเห็นต่างๆ เพื่อผลักดันให้สังคมไทยทันสมัยทัดเทียมอารยประเทศ
บทบรรณาธิการวารสารอ่าน ปีที่ 2 ฉบับที่ 3 (มกราคม-มีนาคม 2553) ฉบับแปลเป็นภาษาอังกฤษโดย อาดาดล อิงคะวณิช เผยแพร่ซ้ำอีกครั้งในวาระครบรอบ 10 ปี เหตุการณ์ 10 เมษา 2553 First published in Thai as an editorial of Aan Issue 2 Vol.3 January-March 2010, translated to English by May Adadol Ingawanij. Reposted on the occasion of the 10th anniversary of the 10th April 2010 event.
เมื่อพบว่า พลเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา ผู้ถูกเรียกขานว่า “เชษฐบุรุษ” นั้น ถึงแก่อนิจกรรมเมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2490 ในวัยเพียง 58 ปีเศษ ก็นึกอยากรู้ขึ้นมาว่า สังคมไทยในระยะนั้น รำลึกถึงและจดจำการจากไปของหัวหน้าคณะราษฎร ผู้ก่อการเปลี่ยนแปลงจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาสู่ระบอบประชาธิปไตยเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2475 อย่างไร?