My Thoughts After The Batman : Some symptoms of 21th century Dikephobia
Superheroism in entertainment media has next to nothing to teach us about justice.
Superheroism in entertainment media has next to nothing to teach us about justice.
การเล่าเรื่องแนวซุปเปอร์ฮีโร่กู้โลกในสื่อบันเทิงมันสอนอะไรเราเกี่ยวกับความยุติธรรมไม่ได้เลย!
สืบเนื่องจากสภาพการถกเถียงกันบนโซเชี่ยวมีเดี่ยเรื่องซีรี่ย์เน็ทฟลิกซ์ มิดไน้ท์ แมส ของนายไมค์ ฟลานากัน ที่เพิ่งออกมาปีนี้ ข้าพจ้าวเห็นควรชี้แจงให้กระจ่างแจ่มว่าอากิวเม้นที่แทบจะไม่เป็นอากิวเม้นในบทความนี้มีพื้นฐานอยู่บนข้อกังวลทางทฤษฎีสองประการ
In light of the direction of the thai social media discourse on Mike Flanagan’s 2021 Netflix limited series Midnight Mass, I should clarify that the argument presented in this article, such as it is, has its basis in two theoretical concerns.
ไม่ว่าท่านผู้อ่านจะมีความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพเวทีการต่อสู้ในไทย ว่าตอนนี้มันต้องใช้ข้อเท็จจริง ต้องเน้นใช้กฎหมายและรัฐธรรมนูญเอาชนะพวกมันให้ได้อย่างเดียวนะ หรืออย่างไรก็ตาม ก็คงปฏิเสธความสำคัญของการต่อสู้ทางสัญลักษณ์ไม่ได้ เพราะอำนาจรัฐไทยผูกขาดสัญลักษณ์ความคลั่งชาติไว้หมดจนสลิ่มชนเสพความใคร่ส่วนตัวอิ่มเอมขึ้นอืดหรือพวกมนุษย์ที่ไม่กล้าโงหัวยอมแพ้ไปตั้งแต่ยังไม่ได้เริ่มสู้แล้ว
HPL’s actual contribution thus also highlights his weakness as a critical thinker. To wit, he pointed out where reality ends and the real begins but himself never thought to upset that boundary.
เลิฟคราฟท์บรรยายเพื่อนมนุษย์ร่วมโลกเหล่านี้ของทั่นผู้ดีเก่าให้เหมือนเป็นแค่ตัวประกอบฉากเท่านั้น บรรยายมวลมนุษย์ที่ควรจะมีความคิดเป็นของตัวเองให้กลายเป็นมนุษย์ชั้นต่ำผ่านการวางตัวเรียบร้อยระเบียบหมู่ในพิธีบรมราชาภิเษก นี่แหละคือโฉมหน้าที่แท้จริงของคำว่าแฟนตาซี
ก่อนจะเข้าสู่การวิจารณ์ข้าพเจ้าก็บอกก่อนว่าเข้าใจถึงเจตนารมณ์ของไอติมที่ต้องการจะให้ทุกคนยึดมั่นกับ “อุดมการณ์ประชาธิปไตย” ซึ่งก็เป็นความเสมอภาคของทุกผู้คนในรูปแบบหนึ่ง1 และข้าพเจ้าก็ยอมรับว่าไอติมมีความรอบรู้ข้อมูลเชิงกฏหมายและระเบียบสภาที่ข้าพเจ้าไม่มีหัวให้หรอกในระดับที่สามารถอธิบายให้อ่านฉับเดียวเข้าใจได้ แต่กระนั้นความผิดพลาดของไอติมเห็นได้อย่างชัดเจนและแบ่งได้ออกเป็นสามประเภทคือ การบิดเบือนความเป็นจริงบนเวทีสนทนาโลกโดยไม่ได้ตั้งใจ, บิดเบือนประวัติศาสตร์ชาตินอกอำนาจตะวันตกด้วยความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ และการไม่ถามคำถามสำคัญที่ต้องละไว้ในฐานที่เข้าใจตามสภาพรัฐอำนาจตำรวจไทย
So what message is Persona 5 telling us regarding the reformist position in which we can imagine neither the Kim family nor the clown-masked protesters at the climax of Joker?
แล้ว “เพอร์โซน่าห้า” กำลังบอกอะไรเราเกี่ยวกับจุดยืนแนวปฏิรูปสังคมที่เราไม่อาจมโนเห็นได้ในตระกูลคิมหรือในผู้ประท้วงใส่หน้ากากตัวตลกทั้งหลายในตอนท้ายของเรื่องโจ๊กเก้อ?