เมื่อ February อาจไม่ได้แปลว่า กุมภาพันธ์
“สิใซ้ เดือนกุมภา ติ? ภาษาบ้านเฮาแต่ก่อนบ่ได้ว่าจั่งซั้นเด๊ะล่ะ” บรรณาธิการคำลาวอธิบาย
“สิใซ้ เดือนกุมภา ติ? ภาษาบ้านเฮาแต่ก่อนบ่ได้ว่าจั่งซั้นเด๊ะล่ะ” บรรณาธิการคำลาวอธิบาย
แต่ก็ไอ้ความอิหลักอิเหลื่อของคำลาวอีสาน จะใช้อย่างใกล้ชิดสนิทสนมหรือรังเกียจเดียดฉันท์ก็ได้แล้วแต่คนจะพูดนี่แหละ ที่ทำให้มันสามารถเป็นภาชนะรองรับแนวคิดซับซ้อนจากต่างวัฒนธรรมได้อย่างวิเศษ
เทียบสำนวนแปล โคทาน กับ ท่งกุลาลุกไหม้ เจาะประเด็นโรคเรื้อนใน “สำนึก” ของ “ชาวบ้าน”
มากกว่าคำสแลงที่กลืนราชาศัพท์จนสามัญ ไพร่ฟ้าหน้าใสอย่างเราๆ ก็ได้อัพเดตตัวเองล้ำยุคล้ำสมัยในพริบตา กลายเป็นไพร่ฟ้าหน้าใสในระบอบ Slender Democracy อันมีพระ Fit-and-Firm Monarch ทรงเป็นประมุข
กูพูดมาเสมอว่ากลียุคน่ะเราท่านอยู่กันมานานแล้ว
We already live in an apocalypse, I always say.
ในโมงยามของความสูญ/เสีย/หาย ที่เราทำได้จึงเป็นการสืบ/ต่อ
แปลงร่าง “ของนอก” ที่ชนหมู่มากเข้าไม่ถึง ให้กลายเป็น “ของนอก” ที่ฟังดูเข้าลิ้นคนบ้านเรา
ภูมิทัศน์และความรู้สึกในอดีตและปัจจุบันมาบรรจบกัน เมื่อบทความของ “นายผี” ที่มุ่งให้ความรู้เรื่อง “พี่น้องมุสลิมของเรา” ถูกอ่านออกเสียงให้คนรุ่นใหม่ผู้พยายามนำสันติคืนสู่ “ปาตานี” ได้รับฟัง
เมื่อบก.ไม่เอา “ผู้สี้แซบสี้นัว” สามสาวก็ต้องช่วยกันคิดหลายตลบกว่าจะได้ “พาขึ้นสวรรค์” มาแปลคำว่า “make love”