สำนักพิมพ์ อ่าน: เพื่อการอ่าน

อ่านออนไลน์

The intellect(ual) of the masses

บทบรรณาธิการวารสารอ่าน ปีที่ 2 ฉบับที่ 3 (มกราคม-มีนาคม 2553) ฉบับแปลเป็นภาษาอังกฤษโดย อาดาดล อิงคะวณิช เผยแพร่ซ้ำอีกครั้งในวาระครบรอบ 10 ปี เหตุการณ์ 10 เมษา 2553 First published in Thai as an editorial of Aan Issue 2 Vol.3 January-March 2010, translated to English by May Adadol Ingawanij. Reposted on the occasion of the 10th anniversary of the 10th April 2010 event.

สังเกตการเมืองโลกในงานประชุมนักแปลอเมริกัน โดย ช้างผอค

ฉันไม่อินกับวาระทางวิชาชีพนี้ เพราะมาจากสังคมที่นักแปลถูกยกให้เป็นผู้มีความรู้เหนือคนทั่วไป มีอำนาจทางวัฒนธรรมที่จะสยบคำวิจารณ์ผู้อ่านได้ว่าก็เธอรสนิยมต่ำหรือเข้าไม่ถึงสำนวนภาษาไวยากรณ์ของผู้เขียนเอง สังคมที่ชื่อนักแปลอาจการันตียอดขายไม่แพ้ชื่อนักเขียน สังคมที่นักแปลไม่จำเป็นต้องง้อนักอ่าน แต่นักอ่านต้องรู้จักหงอนักแปล…

Cosmic Horror, and Random thoughts on communism, literature, and H.P. Lovecraft

Just as reliance on representation in democratic processes stifles political participation and consciousness, if there were to be such a thing as socialist continuity in weird fiction, the socialist weirdist could base their creative impetus on social participation in, rather than private representation of horror.

คอสมิคฮอร์เร่อ (Cosmic Horror) กับข้อคิดไปเรื่อยว่าด้วยคอมมูนิสซึ่ม, วรรณคดี, และเฮ็ด.พี. เลิฟคราฟท์

หากการพึ่งพาผู้แทน/ตัวแทนในกระบวนการทางประชาธิปไตย เป็นการฉุดรั้งการมีส่วนร่วมและจิตสำนึกทางการเมืองไม่มากก็น้อยฉันใด ปลาดชนนิยมสังคมหากต้องการให้เกิดความต่อเนื่องทางสังคมนิยมในปลาดคดี ก็สมควรตั้งมั่นแรงผลักดันความสร้างสรรค์จากการมีส่วนร่วมทางสังคมในความสยองขวัญ มากกว่าจะเป็นการสร้างภาพแทนความสยองขวัญทางปัจเจกเอกชนฉันนั้น

นพพร ประชากุล ทิ้งรอยโดยทิ้งรอย

นี้กระมังที่เป็นสปิริตในงานทั้งหมดของอาจารย์นพพร และคือตัวตนของความเป็นอาจารย์นพพร ประชากุล นั่นคือ นักอ่านที่หลงใหลในวรรณกรรม ผู้สงสัยในคุณค่าของวรรณกรรม, นักมนุษย์ศาสตร์ผู้เคลือบแคลงในลัทธิมนุษยนิยม, คนเปี่ยมเหตุผล ผู้หวาดระแวงในลัทธิเหตุผลนิยม, คนมากน้ำใจต่อเพื่อนมนุษย์ ผู้สูญสิ้นศรัทธาในมนุษยชาติ

ข้อคิดหลังดู “เดอะ แบทแมน” ว่าด้วยโรคขยาดความยุติธรรมในศตวรรษที่ ๒๑

การเล่าเรื่องแนวซุปเปอร์ฮีโร่กู้โลกในสื่อบันเทิงมันสอนอะไรเราเกี่ยวกับความยุติธรรมไม่ได้เลย!

วัฒน์ วรรลยางกูร “ศรีบูรพา” แห่งยุคสมัย

สำหรับผม วัฒน์ วรรลยางกูร มิได้เป็นเพียงนักเขียนรางวัลศรีบูรพา แต่เขาคือ “ศรีบูรพา” แห่งยุคสมัยของเรา ในทุกมิติของความเป็นนักเขียนและนักต่อสู้เพื่อประชาธิปไตย

ไม่กลับ : การลาลับเพื่อคงอยู่ของวัฒน์ วรรลยางกูร

สำหรับข้าพเจ้า “เนรเทศ” ไม่ใช่ลี้ภัยชั่วคราวเพื่อรอวันกลับมา เนร คือ นิร คือไร้ ไม่ใช่กลับไม่ได้ แต่ไม่ขอหันหลังกลับมาอีกแล้ว

1 2 3 14