อ่านออนไลน์
อ่านออนไลน์
Still Lives No. 4 ดารณี ชาญเชิงศิลปกุล
คุณดา – ดารณี ชาญเชิงศิลปกุล You can blow […]
Still Lives No. 3 รสมาลิน ตั้งนพกุล
รสมาลิน ตั้งนพกุล – ป้าอุ๊ ภาพนี้ถ่ายที่พงหญ้าคาข […]
รีวิวหนังสือ ประชาธิปไตยมีดีอะไร ของ พริษฐ์ วัชรสินธุ: ประชาธิปไตยแต่ไม่เอา “เสรีนิยม” ละกัน
ก่อนจะเข้าสู่การวิจารณ์ข้าพเจ้าก็บอกก่อนว่าเข้าใจถึงเจตนารมณ์ของไอติมที่ต้องการจะให้ทุกคนยึดมั่นกับ “อุดมการณ์ประชาธิปไตย” ซึ่งก็เป็นความเสมอภาคของทุกผู้คนในรูปแบบหนึ่ง1 และข้าพเจ้าก็ยอมรับว่าไอติมมีความรอบรู้ข้อมูลเชิงกฏหมายและระเบียบสภาที่ข้าพเจ้าไม่มีหัวให้หรอกในระดับที่สามารถอธิบายให้อ่านฉับเดียวเข้าใจได้ แต่กระนั้นความผิดพลาดของไอติมเห็นได้อย่างชัดเจนและแบ่งได้ออกเป็นสามประเภทคือ การบิดเบือนความเป็นจริงบนเวทีสนทนาโลกโดยไม่ได้ตั้งใจ, บิดเบือนประวัติศาสตร์ชาตินอกอำนาจตะวันตกด้วยความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ และการไม่ถามคำถามสำคัญที่ต้องละไว้ในฐานที่เข้าใจตามสภาพรัฐอำนาจตำรวจไทย
ภาษาผีเสื้อ
เมื่อภาษากำเนิดขึ้น พระเจ้าจึงกลายเป็นเรื่องเล่าเรื่องแรกๆของมนุษย์ แต่ไม่มีใครอยากให้ตัวเองถูกเล่าในฐานะคนที่ร้ายกาจและโกรธเกรี้ยวอยู่ตลอดเวลาหรอก ปีศาจแสนฉลาดจึงแสดงสิ่งหนึ่งให้พระเจ้าเห็น เขาได้สร้างความรักขึ้นมาจากสายลมแล้วส่งมันไปพร้อมกับสัตว์ปีกเล็กๆที่เขาสร้างขึ้นมา ส่งเข้าสู่ความทรงจำของมนุษย์ มนุษย์เทิดทูนเขาราวกับพระเจ้า และเริ่มเทิดทูนมนุษย์คนอื่นราวกับพระเจ้าเช่นกัน ตอนนั้นเองพระเจ้าก็ได้เรียนรู้ พระบุตรน้อยก็ได้เรียนรู้ที่จะมีความรัก แต่ ความรักมันไม่ได้ถูกนิยามหรือครอบครองง่ายดายขนาดนั้น
อานิสงส์ของทางผ่าน: จับเคล็ดกวี ฆวาน รูลโฟ ในสำนวนแปลภาษาที่สอง
ในระหว่างที่ไวรัสโคโรน่าห่าตำปอดแพร่ระบาดอยู่ตะพึดตะพือ สิ่งที่ช่วยสร้างสมาธิให้ฉันได้มากที่สุดคือการหันไปจดจ่อกับความหมกมุ่นส่วนตัวที่ใหญ่กว่าการเกาะติดสถานการณ์ การย้อนอ่านรวมเรื่องสั้นของฆวาน รูลโฟคือความหมกมุ่นนั้น เมื่อปลายปีที่แล้ว (2019) รวมเรื่องสั้นของรูลโฟถูกแปลเป็นภาษาอังกฤษสำนวนใหม่ เจอข่าวดีที่ไม่คาดฝันอย่างนี้ มีหรือที่แฟนคลับเดนตายอย่างฉันจะไม่รีบจับจองมาเป็นของตัวเอง หน้าหงายทันทีเมื่อเห็นชื่อหนังสือ – El Llano in flames – พี่แกจะมาไม้ไหนกันนี่ เล่นไม่แปลคำว่าทุ่งบนปกเสียอย่างนั้น
ย้อนมองระบบสาธารณสุขไทยผ่านวัณโรคในปี 2493
บทความอายุ 70 ปีชิ้นนี้มีหลายส่วนที่น่าอ่านเปรียบเทียบกับสถานการณ์โรคระบาดและระบบสาธารณสุขในปัจจุบัน และไม่เพียงแค่เนื้อหาเท่านั้นที่น่าสนใจ แต่บทความนี้ยังเป็นหลักฐานอีกชิ้นหนึ่งที่แสดงว่า หลังเปลี่ยนแปลงการปกครองปี 2475 แล้ว ผู้แทนราษฎรในระบอบประชาธิปไตยต่างก็ทำหน้าที่ของตนเองตามความรู้ความสามารถ และเสนอความคิดเห็นต่างๆ เพื่อผลักดันให้สังคมไทยทันสมัยทัดเทียมอารยประเทศ
Still Lives No. 2 Extra: ปติวัฒน์ สาหร่ายแย้ม กับท่งกุลาลุกไหม้
คุยเพิ่มเติมกับ แบงค์ ปติวัฒน์ สาหร่ายแย้ม
ในฐานะบรรณาธิการแปลของหนังสือ ท่งกุลาลุกไหม้
The intellect(ual) of the masses
บทบรรณาธิการวารสารอ่าน ปีที่ 2 ฉบับที่ 3 (มกราคม-มีนาคม 2553) ฉบับแปลเป็นภาษาอังกฤษโดย อาดาดล อิงคะวณิช เผยแพร่ซ้ำอีกครั้งในวาระครบรอบ 10 ปี เหตุการณ์ 10 เมษา 2553 First published in Thai as an editorial of Aan Issue 2 Vol.3 January-March 2010, translated to English by May Adadol Ingawanij. Reposted on the occasion of the 10th anniversary of the 10th April 2010 event.
Still Lives No. 2 : ปติวัฒน์ สาหร่ายแย้ม
หลังรัฐประหาร พฤษภาคม 2557 การกวาดล้างคนเห็นต่างและการล่าแม่มดของฝ่ายตรงข้ามก็ดำเนินควบคู่กันไป แบงค์ถูกจับ โดยถูกแจ้งข้อหาตามกฎหมายอาญามาตรา 112 และถูกตัดสินจำคุก 2 ปี 6 เดือน เป็นการตัดสินไปตามครรลองของกฎหมาย เพียงแต่หัวใจของเขายังกังขาว่าตัวกฎหมายนั้นเป็นธรรมหรือไม่สำหรับการลงทัณฑ์ต่อการใช้เสรีภาพทางศิลปะอย่างโลกอารยะทั่วไป